การอบรมเชิงปฏิบัติการ EdPEx Criteria Training รุ่นที่ 13 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 11-12 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้องประชาสังคมอุดมพัฒน์ ชั้น 1 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา โดยมีกำหนดการ ดังนี้
เนื่องจากการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “EdPEx Criteria Training”นี้ ได้เคยมีบุคลากรบางท่านเคยเข้ารับการอบรมมาแล้ว ผู้เขียนจึงขอสรุปในส่วนสาระสำคัญของการอบรมในครั้งนี้ ตามรายละเอียดดังนี้ค่ะ
วัตถุประสงค์ของการนำเกณฑ์ EdPEx มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพมหาวิทยาลัย
คุณลักษณะสำคัญของเกณฑ์ EdPEx คือ
เป็นเกณฑ์ที่สนับสนุนมุมมองเชิงระบบเพื่อให้เป้าประสงค์สอดคล้องไปในทางเดียวกันทั่วทั้งองค์กร
ความแตกต่างของ EdPEx จากเกณฑ์คุณภาพอื่น
เกณฑ์ EdPEx มุ่งเน้นผลลัพธ์ ด้าน การเรียนรู้ของผู้เรียน และกระบวนการ ผู้เรียนและลูกค้ากลุ่มอื่น
บุคลากร การนำองค์การและการกำกับดูแล งบประมาณ การเงินและตลาด
เกณฑ์ EdPEx เป็นการบูรณาการระหว่างกระบวนการและผลลัพธ์
เกณฑ์ EdPEx ไม่กำหนดวิธีการ ให้สถาบันเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับลักษณะของสถาบัน
ไม่กำหนดว่าจะต้องมีโครงสร้างองค์กรอย่างไร
ไม่ระบุว่าสถาบันจะต้องมีหน่วยงานด้านการวางแผน ด้านจริยธรรมพัฒนาคุณภาพ หรือหน่วยงานอื่นๆ
ไม่แนะนำให้สถาบันบริหารหน่วยงานต่างๆด้วยวิธีเดียวกัน
ให้สถาบันเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมที่สุดเพื่อกระตุ้นการพัฒนา เช่น Plan-Do-Study-Act (PDSA) , Balanced scorecard
เกณฑ์ EdPEx ไม่กำหนดตัววัด ให้สถาบันเลือกตัววัดที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารสถาบัน
เกณฑ์ EdPEx สนับสนุนมุมมองเชิงระบบ
วิธีการประเมินและให้คะแนน
การประเมินกระบวนการใช้เกณฑ์
การประเมินผลลัพธ์ใช้เกณฑ์
การให้คะแนนในแต่ละหมวด
ปัจจัยแห่งความสำเร็จและความยั่งยืนของระบบคุณภาพ
- มหาวิทยาลัยมีการกำหนดนโยบายชัดเจนและมียุทธศาสตร์ในการนำสู่การปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอน
- ผู้บริหารระดับมหาวิทยาลัย และระดับส่วนงานให้ความสำคัญและนำไปปรับใช้อย่างจริงจัง
- มีการสื่อสารนโยบาย แนวทาง ในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพด้วยเกณฑ์ EdPEx / AUN QA สู่ประชาคม
- การให้ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์คุณภาพและการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
- มีผู้เชี่ยวชาญที่เป็นผู้ประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติและผู้ประเมิน AUN QA ที่เป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมพัฒนาในด้านต่างๆ
- มีการพัฒนาผู้ตรวจประเมินที่มีคุณภาพและเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน
หัวใจสำคัญค่านิยมและแนวคิดหลักของเกณฑ์ EdPEx
องค์ประกอบของเกณฑ์ EdPEx และการให้คะแนน (หมวด 1 – 6)
องค์ประกอบของเกณฑ์ EdPEx และการให้คะแนน (หมวด 7)
สุดท้ายนี้ “มหาวิทยาลัยมหิดลใช้ระบบประกันคุณภาพเพื่อการพัฒนาไม่ใช่เพื่อมุ่งหวังคะแนนหรือรางวัลใดๆ”
ขอบคุณค่ะ
น.ส.ณัฐกัลย์ อภิลักษณ์เสถียร
ตำแหน่ง นักเอกสารสนเทศ
งานบริหารจดหมายเหตุ ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์